5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  1
5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  2
5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  3
5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  4
5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  5
5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510  6
1 / 6
ถัดไป

5430 พระผงสุพรรณอู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำหลังเจดีย์ ปี 2510

฿ 500
like icon
ถูกใจ
Social Sharing
แชร์

โพสต์เมื่อ 5 ปีที่แล้ว

รายละเอียด

5430 พระผงสุพรรณ อู่ทอง จงอางศึก เนื้อดำ หลังเจดีย์ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ปี 2510 จ.สุพรรณบุรี อู่ทองจงอางศึก อายุพระกว่า 50 ปี ปลุกเสกโดยเกจิอาจารย์ ดัง เช่น หลวงพ่อมุ่ยหลวงพ่อถิร, หลวงปู่โพธิ์ หลวงปู่โต๊ะ ฯลฯ วัตถุประสงค์เพื่อนำไปแจกทหาร และตำรวจในช่วงสงครามอินโดจีน ซึ่งเป็นที่มาของ กองทหาร ที่ถูกขนานนามจาก พวก เวียดกง ว่าทหารผี เพราะยิงไม่ตายนั่นเอง เหมาะสำหรับท่านที่ต้องทำงานเสี่ยงภัย เดินทางตลอดเช่น ตำรวจ ทหารผู้ขับรถเป็นประจำ ข้อมูลการสร้างพระผงสุพรรณ อู่ทอง จงอางศึก 28 กุมภาพันธ์ 2510 คณะรัฐมนตรี อนุมัติหลักการให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่รัฐบาลสาธารณรัฐเวียดนาม โดยให้กองทัพบกจัดส่งหน่วยกำลังรบทางพื้นดินไปปฏิบัติการรบ กองทัพบกจึงจัดตั้งหน่วยรบเฉพาะกิจขึ้นในรูป กรมทหารอาสาสมัคร (กรมอสส.)ส่งไปร่วมรบกับชาติพันธมิตร ในประเทศเวียดนามเป็นหน่วยทหารภายใต้รหัสจงอางศึก หรือเข้าร่วมสังกัด ในกองพันที่ 9 ของกองกำลังสหรัฐ ของค่ายแบร์แคต 13 พฤษภาคม 2510 หลวงปู่โพธิ์ เจ้าอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.สุพรรณบุรีได้จัดพิธีมหาพุทธาภิเษก สร้าง พระอู่ทองออกศึก แจกแก่ทหาร รุ่นจงอางศึกนี้โดยเฉพาะโดยนิมนต์พระเกจิอาจารย์ชื่อดังมานั่งปรกปลุกเสกจำนวน 69 รูป อาทิเช่น ๑. หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี ๒. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลยก์ จ.สุพรรณบุรี ๓. หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว จ.สุพรรณบุรี ๔. หลวงพ่อคำ วัดหน่อพุทธางกูร จ.สุพรรณบุรี ๕. หลวงพ่อใจ วัดวังยายหุ่น จ.สุพรรณบุรี ๖. หลวงพ่อเปลื้อง วัดสุวรรณภูมิ จ.สุพรรณบุรี ๗. หลวงพ่อแต้ม วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี ๘. หลวงพ่อดี วัดพระรูป จ.สุพรรณบุรี ๙. หลวงพ่อโต๊ะ วัดลาดตาล จ.สุพรรณบุรี ๑๐. หลวงพ่อเจริญ วัดธัญเจริญ จ.สุพรรณบุรี ๑๑. หลวงพ่อบุญ วัดโคกโคเฒ่า จ.สุพรรณบุรี ๑๒. หลวงพ่อฮวด วัดดอนโพธิ์ทอง จ.สุพรรณบุรี ๑๓. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี ๑๔. หลวงพ่อดี วัดท่าเจริญ จ.สุพรรณบุรี ๑๕. หลวงพ่อเหมือน วัดไทรย์ จ.สุพรรณบุรี ๑๖. หลวงพ่อเมี้ยน วัดโพธิ์เจริญ จ.สุพรรณบุรี ๑๗. หลวงพ่อเจิม วัดกุฎีทอง จ.สุพรรณบุรี ๑๘. หลวงพ่อเลียบ วัดช่องลม จ.สุพรรณบุรี ๑๙. หลวงพ่อวิจิตร วัดบ้านทึง จ.สุพรรณบุรี ๒๐. หลวงพ่อแขก วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี ๒๑. หลวงพ่อสุบิน วัดท่าช้าง จ.สุพรรณบุรี ๒๒. หลวงพ่อนาถ วัดศรีโลหะ จ.กาญจนบุรี ๒๓. หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี ๒๔. หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม จ.สิงห์บุรี ๒๕. หลวงปู่โต๊ะ วัดสระเกษ จ.อ่างทอง ๒๖. หลวงพ่อสนิท วัดศิลาขันธ์ จ.อ่างทอง ๒๗. หลวงพ่อสาย วัดท้องคุ้ง จ.อ่างทอง ๒๘. หลวงพ่อไวย์ วัดบรม จ.อยุธยา ๒๙. หลวงพ่อต่วน วัดกล้วย จ.อยุธยา ๓๐. หลวงพ่อชม วัดเขาดิน จ.อยุธยา ๓๑. หลวงพ่อทิม วัดพระขาว จ.อยุธยา ๓๒. หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย จ.อยุธยา ๓๓. หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติการาม จ.อยุธยา ๓๔. หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช จ.อยุธยา ๓๕. หลวงพ่อนก วัดกลางท่าเรือ จ.อยุธยา ๓๖. หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม ๓๗. หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม ๓๘. หลวงปู่เพิ่ม วัดสรรเพชญ จ.นครปฐม ๓๙. หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา จ.นครปฐม ๔๐. พระอารย์เจียม วัดไร่ขิง จ.นครปฐม ๔๑. หลวงพ่อสุด วัดกาหลวง จ.สมุทรสาคร ๔๒. หลวงพ่อแก้ว วัดช่องลม จ.สมุทรสาคร ๔๓. หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะองค์ จ.สมุทรสาคร ๔๔. หลวงพ่อทองอยู่ วัดท่าเสา จ.สมุทรสาคร ๔๕. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี จ.สมุทรสาคร ๔๖. หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพฯ ๔๗. หลวงปู่นาค วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ ๔๘. หลวงปู่ธูป วัดแคนางเลิ้ง กรุงเทพฯ ๔๙. หลวงพ่อทูรย์ วัดโพธินิมิตร กรุงเทพฯ ๕๐. หลวงปู่เพิ่ม วัดสามปลื้ม กรุงเทพฯ ๕๑. หลวงพ่อผ่อง วัดสามปลื้ม กรุงเทพฯ ๕๒. หลวงพ่อหวล วัดพิกุล กรุงเทพฯ ๕๓. หลวงพ่อบุญนาค วัดเศวตฉัตร กรุงเทพฯ ๕๔. หลวงพ่อผล วัดหนังบางขุนเทียน กรุงเทพฯ ๕๕. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ ๕๖. หลวงพ่อเฮง วัดกัลยาณมิตร กรุงเทพฯ ๕๗. หลวงพ่อบุญมี วัดกลางอ่างแก้ว กรุงเทพฯ ๕๘. หลวงปู่หนู วัดทุ่งแหลม จ.ราชบุรี ๕๙. หลวงปู่สิมมา วัดบ้านหมอ จ.สระบุรี ๖๐. หลวงพ่อโอด โคกเดื่อ จ.นครสวรรค์ ๖๑. หลวงพ่ออ๋อย วัดหนองบัว จ.นครสวรรค์ ๖๒. หลวงพ่อน้อย วัดหนองโพธิ์ จ.นครสวรรค์ ๖๓. หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ จ.ชัยนาท ๖๔. หลวงพ่อบุญมี วัดเขาสมอคอน จ.ลพบุรี ๖๕. พระอธิการถนอม วัดนางพญา จ.พิษณุโลก ๖๖. หลวงพ่อทบ วัดชนแดน จ.เพชรบูรณ์ ๖๗. พระอาจารย์สำราญ วัดเขาตะเครา จ.เพชรบุรี ๖๘. หลวงพ่ออบ วัดถ้ำแก้ว จ.เพชรบุรี ๖๙. หลวงพ่อนิ่ม วัดเขาน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ มวลสารเป็นเนื้อดินใช้ชิ้นส่วนพระชำรุดแตกหักจากกรุต่างๆมาเป็นส่วนผสมหลักเช่น พระผงสุพรรณ กรุวัดพระธาตุ, พระกรุวัดพระรูป, พระกรุวัดลำปะซิว, พระกรุวัดบ้านกร่าง, พระกรุถ้ำเสือ, พระกรุวัดบางยี่หนและพระเนื้อดินชำรุด แตกหักของพระเกจิอาจารย์ต่างๆอีกจำนวนมาก พุทธลักษณะคล้ายพระผงสุพรรณ แต่เป็นพระปางสมาธิ ด้านหลังเป็นรูปองค์พระปรางค์ อันเป็นสัญลักษณ์ประจำวัดและเป็นสถานที่พบพระผงสุพรรณ พระรุ่นนี้มีประสบการณ์ด้านอิทธิปาฏิหาริย์มากมายในสงครามเวียดนามทหารไทยรุ่นจงอางศึกนี้ให้ความเชื่อมั่นในพุทธ คุณเป็นอันมาก ไม่ว่าจะโดนยิงโดนแทงหรือโดนระเบิด ต่างก็รอดพ้นจากเงื้อมมือมัจจุราชได้อย่างอัศจรรย์จนเป็นหน่วยทหารที่ได้รับคำยกย่องอย่างมากในสมรภูมิ มีสีดำ และสีแดง 500.-/องค์ ................ 💸💸🙇♂️ธนาคาร TMB สาขาพิบูลละเอียด 480-2-27769-1 ธวัชชัย 📲📲โทร 0865519173 ,0820895374 ( ID line :xiakorat) ✉ส่งลงทะเบียน เพิ่ม 20.-บาท 📨ส่ง EMS ด่วนเพิ่ม 50.-บาทครับ รวมพระเครื่อง https://www.ennxo.com/profile/3952/ facebook #พระเครื่องเซี้ยโคราช https://bit.ly/2MTanFH

อ่านเพิ่มเติม

สินค้าใกล้เคียง